การเตรียมดินและการปลูก

การเตรียมดินและการปลูก
ถึงแมกุหลาบจะปลูกไดในดินเกือบทุกชนิด แตดินที่ตางกันก็ยอมทําให การเจริญเติบโตดีเลวตางกัน
ออกไป ดังนั้นกอนปลูกควรเตรียมดินดังนี้
ในภาคกลางซึ่งมีสภาพดินคอนขางเหนียว และคอนขางเปนกรดจัด ระดับนํ้าใตดินสูง เกษตรกร
ผูปลูกกุหลาบจะนิยมปลูกแบบรองสวน ซึ่งมีคูนํ้าคั่นกลาง โดยเริ่มเตรียมดินในฤดูแลง คือ จะตองฟนดินและ
ตากดินใหแหงเพื่อกําจัดวัชพืช กอนในขณะที่ตากดินนี้อาจโรยปูนขาวลงไปดวยก็ได เมื่อดินแหงดีแลวจึงกลับ
หนาดิน และชักดินในแตละแปลงใหมีขอบสูง ตรงกลางเปนแองเล็กนอย ขนาด ของแปลงกวางและยาวตาม
พื้นที่เดิมที่เคยปลูกผักมาแลว การวางระยะหางของ ตนที่จะปลูกอาจใชระยะ 50 x 50 เซนติเมตร จํานวน
แถวในแตละแปลงไมควร เกิน 3 แถว เพื่อความสะดวกในการตัดดอกและตัดแตงกิ่งตรงแถวกลาง สําหรับใน
ภาคอื่นที่มีสภาพดินคอนขางรวนหรือดินรวนปนทราย อาจ ปลูกแบบเจาะหลุมปลูกหรือแยกแปลงปลูกก็ได
โดยวัดขนาดแปลงปลูกกวาง 1 .20 เมตร เวนทางเดิน 1 เมตร ความยาวของแปลงปลูกตามขนาดของพื้นที่
และใชระยะปลูก 60 x60 เซนติเมตร ซึ่งจะไดจํานวนตนประมาณ 2,000 ตนตอไร (หรือ ทําแปลงปลูก
กวาง 1เมตร เวนทางเดิน 1 เมตร และใชระยะปลูก 50 x 50 เซนติเมตร สําหรับพันธุกุหลาบที่ขนาดของ
ทรงพุมไมแผกวางมากนัก) กอนปลูก ควรหวานปูนขาวและไถพรวนตากดินไวใหแหง
กุหลาบสามารถปลูกไดทั้งในดินที่เปนกรดหรือดาง แตเจริญไดดีในดิน ที่คอนขางเปนกรดเล็กนอย
คือมี pH ประมาณ 4.5-6.5 ถาดินเปนกรดมากใหเติม ปูนขาว 60-100 กิโลกรัมตอ 100 ตารางวา แตถา5
ดินเปนดางก็ใสกํามะถันผง 20-50 กิโลกรัมตอ 100 ตารางวา เมื่อเตรียมแปลงปลูกเรียบรอยแลว ใหขุด
หลุม ปลูกกวางและลึก 30 x 30 เซนติเมตร (ถาเตรียมหลุมปลูกกวางและลึกกวานี้จะ เปนการดียิ่งขึ้น) จาก
นั้นก็จะใสปุยคอก เชน ขี้เปด ขี้ไก ขี้วัว ฯลฯ ประมาณหลุมละ 1 บุงกี๋ใสปุยซุปเปอรฟอสเฟต หรือกระดูกปน
เปนปุยรองกนหลุม ๆ ละ 1 กํามือ คลุกเคลาใหเขากันแลวจึงนํากิ่งพันธุกุหลาบซึ่งอาจจะเปนกิ่งตอนหรือตน
ติดตา ลงไปปลูก กลบดินที่โคนตนใหกระชับและรดนํ้าใหชุม
กิ่งพันธุที่นิยมนํามาปลูกเพื่อตัดดอกเปนการคาในปจจุบัน ไดแก กิ่งตัดชํา และกิ่งตอนจะมีเกษตรกร
บางรายที่ปลูกโดยใชตนติดตา แตมีนอยราย

พันธุ์กุหลาบ

พันธุ
กุหลาบที่ปลูกในประเทศไทยปจจุบันนี้มีอยูดวยกันหลายประเภท ซึ่งถาแบงออกโดยสังเขป จะไดดังนี้
1. กุหลาบตัดดอกหรือไฮบริดที(Hybrid Tea หรือ HT) ปกติมักออก
ดอกเปนดอกเดี่ยว มีขนาดโต กลีบดอกซอน พุมตนตั้งตรงสูงประมาณ 1-2
เมตร กุหลาบที่มีขายทั่วไป ตามทองตลาดขณะนี้มักจะเปนกุหลาบประเภทนี้
อยางไรก็ตาม พันธุไฮบริดทีนั้นมิไดใชปลูกเปนไมตัดดอกไดดีทุกพันธุดังนั้น จํา
เปนตองคัดเลือกพันธุใหเหมาะสมสําหรับแตละทองที่ ลักษณะที่เหมาะสม
สําหรับจะใชเปนพันธุสําหรับตัดดอก คือ
1. แข็งแรง ตนโต เลี้ยงงายและเจริญเติบโตไดดี
2. ออกดอกสมํ่าเสมอไมโทรมไวเมื่อถูกตัดดอกไปมาก
3. ทนตอโรคและแมลงไดดีพอสมควร
4. ลําตนตั้งตรง ซึ่งจะทําใหปลูกไดชิดกันเปนการประหยัดเนื้อที่
5. ใหกิ่งกานยาวตรง มีหนามนอย ใบงามสมดุลกับกิ่ง
6. ฟอรมดอกดีทรงดอกยาวแบบแจกันหรือปลายกลีบดอกแหลม
7. กลีบดอกไมซอนหนาเกินไปจนดอกบานไมออก
8. กลีบดอกหนา ทนตอการบรรจุหีบหอและขนสง3
9. ดอกมีสีสะดุดตาและไมเปลี่ยนสีเมื่อดอกโรย
10.ไมเหี่ยวเฉางายหลังจากตัดแลว
11.ดอกมีกลิ่นหอม (ถาเปนไปได)
ปจจุบันกุหลาบที่นิยมปลูกเปนไมตัดดอกในประเทศไทย มีอยูมากมายหลายพันธุ แตพันธุที่กรม
สงเสริมการเกษตรแนะนําใหปลูก มีดังนี้
– พันธุดอกสีแดง ไดแก พันธุบราโว. เรดมาสเตอรพีช, คริสเตียนดิออร, โอลิมเปยด, นอริคา,
แกรนดมาสเตอรพีช, ปาปามิลแลนด, เวกา
– พันธุดอกสีเหลือง ไดแก พันธุคิงสแรนซัม,ซันคิงส, เฮสมุดสมิดท, นิวเดยโอรีโกลดและเมลิลอน
– พันธุดอกสีสม ไดแก พันธุซันดาวนเนอร, แซนดรา, ซุปเปอรส
ตารหรือทรอพปคานา
– พันธุดอกสีชมพู ไดแก พันธุมิสออลอเมริกาบิวตี้ หรือมาเรีย,
คาสลาส, ไอเฟลทาวเวอร,สวาทมอร, เฟรนดชิพ, เพอรฟูมดีไลท, จูวังแซล,
เฟรสทไพรซ, อเควเรียส, ซูซานแฮมเชียร
– พันธุดอกสีขาว ไดแก พันธุไวทคริสตมาส เอทีนา
– พันธุดอกสีอื่นๆ ไดแก พันธุแยงกี้ดูเดิ้ล, ดับเบิ้ลดีไลท, เบลแอนจ
นอกจากนี้ยังมีกุหลาบสําหรับเด็ดดอกรอยพวงมาลัย เชน กุหลาบพันธุฟูซิเลียร ซึ่งมีดอกสีสม
2. กุหลาบพวง หรือ ฟลอริบันดา ( Foribunda หรือ F.) กุหลาบพวงมีความแข็งแรงทนทานกวา
กุหลาบตัดดอก ออกดอกดกแตดอกไมใหญเทากับกุหลาบตัดดอกแตมีครบทุกสี และออกดอกเปนชอทีละ
หลาย ๆ ดอก จึงนิยมเรียกวากุหลาบพวง และมักบานพรอมกัน ดอกมีขนาดเล็ก พุมตนตั้งตรงสูง ประมาณ
ครึ่งเมตรถึง 1 เมตร เหมาะสมที่จะปลูกในแปลงประดับและในกระถางเชน พันธุฟูซีเลียร, พันธุแองเจลเฟส
3. ประเภทแกรนดิฟลอรา (Grandiflora หรือ Gr. ) กุหลาบประเภทนี้เปนกุหลาบลูกผสมระหวาง
กุหลาบตัดดอก และกุหลาบพวง มีลักษณะเปนดอกเดี่ยว แตดอกเล็กกวากุหลาบตัดดอก มีกานยาว ตนโต สูง
และแข็งแรง เชน พันธุคาเมล็อท, พันธุคาเสทไนท
พันธเรดมาสเตอรพืช พันธุแกรนดมาสเตอรพืช พันธุนิวเดย พันธุมิสออลอเมริกันบิวตี้
พันธุเพอรฟูมดิไลด4
4. กุหลาบ หรือ มินิเอเจอร (Miniature หรือ Min.) เปนกุหลาบที่มีขนาดพุมตนเล็ก สูง 1- 2 ฟุต
ออกดอกเปนพวงและดอกมีขนาดเล็ก นิยมปลูกประดับแปลง และใชเปนไมกระถาง เชน พันธุเบบี้มาสเคอร
เหรด
5. กุหลาบเลื้อย หรือ ไคลมเบอร (Climher หรือ Cl.) กุหลาบชนิดนี้ลําตนสูงตรง นําไปเลื้อยพันกับ
สิ่งตาง ๆ ไดดอกมีทั้งเปนดอกขนาดใหญและดอกเปนพวง เชน พันธุดอนจวน, พันธุค็อกเทล
6. ประเภทโพลีแอนทา (Polyantha หรือ Pol.) เปนกุหลาบลูกผสมระหวางพันธุโรซา มัลติฟอรา
กับ โรซา ไชเนนซิสมีขนาดพุมตนเตี้ย แข็งแรงและทนทานมาก ออกดอกเปนพวงคลายกุหลาบพวง ลักษณะ
ดอกและตนคลายกุหลาบหนูแตจะแตกตางกับกุหลาบหนูตรงที่กุหลาบโพลีแอนทาจะมีหูใบที่มีลักษณะของ
พันธุโรซา มัลติฟลอรา กุหลาบประเภทนี้เชน พันธุวายวอน ราเบีย
7. ประเภทแรมเบลอร (Rambler หรือ R) มีลําตนยาวและออนโคงออกดอกเปนพวง และดอกมี
ขนาดเล็ก เชน พันธไดโรทีเปอรกิน
8. กุหลาบพุม หรือซรับโรส (Shrub หรือ S.) ไดแกกุหลาบพันธุปาหรือลูกผสมของพันธุปา ซึ่งมี
ทรงตนเปนพุม ออกดอกเปนชอ ดอกมีขนาดเล็กสวนมากมีกลีบชั้นเดียว เชน พันธโรซา นิติดา, โรซา
มัลติฟลอรา, โรซา รูโกซา

วันพ่อเเห่งชาติ

 พ่อ หมายถึง ชายผู้ให้กำเนิดแก่ลูก, คำที่ลูกเรียกชายผู้ให้กำเนิดตน
     ในทางพุทธศาสนา ได้ให้ความหมายของคำว่า “พ่อ” หมายถึง ชายผู้ให้กำเนิดแก่ลูกมีใช้หลายคำ เช่น
         
     – บิดา (พ่อ)
     – ชนก (ผู้ให้กำเนิด)
     – สามี (ผัวของแม่) เป็นต้น
 
     วันพ่อแห่งชาติ  5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทางราชการได้กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการหนึ่งวัน เพื่อให้ประชาชนชาวไทย ได้ร่วมกันเฉลิมฉลองในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและถือเป็นวันพ่อแห่งชาติ อีกวันหนึ่งด้วย
 
      วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือวันพ่อแห่งชาติ มีความเป็นมาของวันสำคัญ คือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชสมภพเมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาล เมาท์ ออเบิร์น นครบอสตัน สหรัฐอเมริกา โดยนายแพทย์วิทท์มอร์เป็นผู้ถวายการประสูติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 9 แห่งบรมจักรีวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจและเจริญพระราชจริยาวัตรเป็นเอนกประการจำเนียรกาลผ่านมาถึงปัจจุบันที่สุดจะพรรณนาให้ครบถ้วนได้ท่ามกลางมหาสมาคมวันพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษกทรงมีกระแสพระราชดำรัสที่ พสกนิกรทุกคนยังจดจำได้ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม” อันคำว่าโดย “ธรรม” นั้น ทรงหมายถึง ธรรมอันล้ำเลิศที่เรียกว่า “ทศพิธราชธรรม” หรือที่เรียกกันโดยสามัญว่า “ราชธรรม 10 ประการ”
 

วันคริสมาสต์

ซานตาครอส - ซานตาคลอส

  คำว่า คริสต์มาส ภาษาอังกฤษเขียนว่า Christmas ดังนั้นอย่าลืม “ต์” อยู่ที่คำว่า คริสต์ (Christ) ไม่ใช่คำว่า “มาส” (Mas) Christmas มาจากภาษาอังกฤษโบราณว่า Christes Maesse แปลว่า บูชามิสซาของพระคริสตเจ้า โดยพบคำนี้ครั้งแรกในเอกสารโบราณในปี ค.ศ.1038 ภายหลังแปรเปลี่ยนมาเป็น อ่านเพิ่มเติม